
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
๒. สภาพทางเศรษฐกิจ
๒.๑ อาชีพ
ประชากรในตำบลลำดวน ร้อยละ ๙๐ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และร้อยละ ๑๐ ประกอบอาชีพอื่นๆ เช่น ค้าขาย รับจ้าง รับราชการ ฯลฯ
๒.๒ หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล
- โรงสีขนาดเล็ก 27 แห่ง
- ปั๊มน้ำมัน 1 แห่ง
- ฟาร์มสุกร 3 แห่ง
- ฟาร์มไก่ 1 แห่ง
- ร้านซ่อมรถ 4 แห่ง
- ร้านเสริมสวย 3 แห่ง
- ร้านค้า 144 แห่ง
- ร้านอินเตอร์เน็ต 6 แห่ง
- ฟาร์มเลี้ยงนกกระทา 1 แห่ง
- ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ (โค) 1 แห่ง
๓. สภาพสังคม
๓.๑ การศึกษา
- โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 1 แห่ง
- โรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง
- โรงเรียนขยายโอกาสการศึกษา 1 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน 5 แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน - แห่ง
๓.๒ ศาสนา
- ผู้นับถือศาสนาพุทธ จำนวน 11,515 คน ร้อยละ 99.22
- ผู้นับถือศาสนาคริสต์ จำนวน 26 คน ร้อยละ 0.23
- ผู้นับถือศาสนาอิสลาม จำนวน - คน ร้อยละ -
- จำนวนวัด / สำนักสงฆ์ จำนวน 7 แห่ง
๓.๓ สาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล 2 แห่ง
- สถานพยาบาลเอกชน 2 แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
๓.๔ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจภูธรลำดวน 1๑ แห่ง
ตั้งอยู่ที่บ้านบุ หมู่ที่ 11๑ ตำบลลำดวน อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์
๔. การบริการพื้นฐาน
๔.๑ การคมนาคม
- ถนนลาดยาง จำนวน 3 สาย
- ถนนคอนกรีต จำนวน 148 สาย
- ถนนดิน จำนวน 45 สาย
- ถนนลูกรัง/ หินคลุก จำนวน 108 สาย
ถนนส่วนใหญ่เป็นถนนที่สร้างมานานแล้ว ทำให้สภาพถนนส่วนใหญ่เกิดความเสียหายไปตามกาลเวลาทำให้การสัญจรไปมาไม่สะดวกเท่าที่ควร
๔.๒ การโทรคมนาคม
-
๔.๓ การไฟฟ้า
ตำบลลำดวน มีไฟฟ้าใช้ทุกหมู่บ้าน แต่มีบางครัวเรือนที่ยังไม่ได้ใช้บริการไฟฟ้าเนื่องจากเป็นบ้านที่ตั้งขึ้นใหม่ในเขตที่ยังไม่มีการขยายเขตไฟฟ้า คิดเป็นร้อยละของการใช้ไฟฟ้า ร้อยละ ๙๕
๔.๔ การประปา
ตำบลลำดวนมีน้ำประปาบริการประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน ในรูปแบบประปาหมู่บ้านซึ่งยังต้องการการพัฒนาในด้านคุณภาพและปริมาณน้ำ ให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการใช้ในหมู่บ้านและมีความสะอาดจนสามารถดื่มได้ต่อไป
๕. ลักษณะการใช้ที่ดิน
ลักษณะการใช้ที่ดินของราษฎรในเขตปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน มีดังนี้
- พื้นที่พักอาศัย จำนวน ๑๐,๗๓๓ ไร่
- พื้นที่การเกษตร จำนวน ๓๕,๐๐๐ ไร่
- พื้นที่สาธารณะ จำนวน ๕,๘๐๐ ไร่
- พื้นที่อื่นๆ จำนวน ๑๒,๘๙๓ ไร่
๖. ข้อมูลอื่น ๆ
๖.๑ มวลชนจัดตั้ง
- กลุ่มอาสาพิทักษ์ป่า ๑ รุ่น จำนวน ๒๓๐ คน
- กลุ่มเยาวชนหมู่บ้าน ๑๘ กลุ่ม จำนวน ๑๖๒ คน
- คณะกรรมการพัฒนาสตรี ๑ กลุ่ม จำนวน ๓๖ คน
- สมาชิกศูนย์ศิลปาชีพ ๑ กลุ่ม จำนวน ๑๕๖ คน
- กองทุนหมู่บ้าน ๑๘ กลุ่ม จำนวน ๑๖๒ คน
- กลุ่มเกษตรกร ๑ กลุ่ม จำนวน ๔๕ คน
- กองทุนเศรษฐกิจชุมชน ๑๘ กลุ่ม
- คณะกรรมการพัฒนาครอบครัวในชุมชน ๑ กลุ่ม จำนวน ๒๒ คน
- คณะกรรมการบริหารการดำเนินงานหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน ๑๘ กลุ่ม
- กองทุนสวัสดิการตำบลลำดวน ๑ กลุ่ม จำนวน ๑๒ คน
- กลุ่มอสม. ๑๘ กลุ่ม
- กลุ่ม อปพร.ประจำตำบลลำดวน ๒ รุ่น จำนวน ๘๘ คน
๖.๒ สภาพปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบล
ชื่อปัญหา | สภาพปัญหา | |||
๑.ปัญหาด้านเศรษฐกิจ -การใช้แหล่งสินเชื่อเพื่อการเกษตร -การอพยพหางานทำ -การประกอบธุรกิจในหมู่บ้าน -การทำการเกษตรฤดูแล้ง -การประกอบอาชีพอื่นๆ ๒.ปัญหาด้านสังคม -ขาดสถานที่ให้ข่าวสารข้อมูล -การรวมกลุ่มของเกษตรกร -เยาวชนขาดความรู้เรื่องกีฬา -เยาวชนขาดระเบียบวินัย ๓.ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน -การคมนาคม -การไฟฟ้า -การระบายน้ำ |
-ปัญหาราษฎรไม่สามารถใช้เงินทุนจากแหล่งสินเชื่อ ดอกเบี้ยต่ำทุกหมู่บ้าน -ปัญหาราษฎรไม่มีรายได้เพราะว่างงานในช่วงหลัง ฤดูเก็บเกี่ยว -ปัญหาราษฎรไม่มีความรู้ในด้านอาชีพหัตถกรรมใน ครัวเรือน -ปัญหาราษฎรส่วนใหญ่ทำการเกษตรได้เฉพาะการ ทำนาเพียงอย่างเดียวปีละ ๑ ครั้งทุกหมู่บ้าน -ปัญหาราษฎรไม่มีอาชีพอื่นเสริมจะประกอบอาชีพ การเกษตรอย่างเดียวเป็นส่วนใหญ่ทุกหมู่บ้าน -ปัญหาการขาดสถานที่ให้ข่าวสารข้อมูลราษฎรภายใน หมู่บ้าน -ปัญหาราษฎรส่วนใหญ่ขาดการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ในการต่อรอง -เกิดจากการขาดสถานที่และอุปกรณ์การเล่นกีฬา ภายในหมู่บ้าน - เยาวชนขาดจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองที่ดีของ สังคม -ปัญหาถนนชำรุดทรุดโทรมเสื่อมสภาพในหมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑-๑๘ รวม ๑๘ หมู่บ้าน -ปัญหามีถนนคอนกรีตเสริมเหล็กผ่านในหมู่บ้านไม่เพียงพอ รวม ๑๘ หมู่บ้าน - การขยายเขตไฟฟ้าแรงต่ำให้บริการไม่เพียงพอต่อการขยายตัวของชุมชนเนื่องจากอยู่ห่างจากเสาไฟฟ้าเกินกว่า ๒๐ เมตร - ขาดโคมไฟส่องสว่างตามเสาไฟฟ้า ถนนในหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑-๑๘ ยังไม่เพียงพอ -ขาดระบบการระบายน้ำภายในหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑-๑๘ |
|||
ชื่อปัญหา | สภาพปัญหา | |||
- ระบบผังเมือง ๔.ปัญหาด้านแหล่งน้ำ -น้ำสะอาดสำหรับดื่ม -น้ำประปา -น้ำเพื่อการเกษตร ๕.ปัญหาด้านสาธารณสุข - ไข้เลือดออก -สุขนิสัยและการอนามัยสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน -โรคเรื้อรัง -การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพและการควบคุมที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ๖.ปัญหาด้านการเมือง การบริหาร -การใช้สิทธิเลือกตั้ง ๗.ปัญหาด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -ระดับการศึกษาของประชาชน -การให้ความรู้ด้านคุณภาพชีวิต ๘.ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม - ปัญหาป่าในพื้นที่สาธารณะถูกทำลาย |
- ขาดการจัดระบบผังเมืองที่ดีในเรื่องต่างๆ เช่น การขุดดิน ถมดิน การกั้นแนวเขตที่สาธารณะ ฯลฯ -ปัญหาราษฎรขาดน้ำสะอาดสำหรับบริโภคในฤดูแล้ง -ไม่มีน้ำประปาใช้ในหมู่ที่ ๗,๑๓ -ระบบการจ่ายน้ำประปาไม่ทั่วถึงในพื้นที่บางหมู่บ้าน -แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรไม่เพียงพอตลอดปีจำนวน ๑๘ หมู่ -ขาดระบบการส่งน้ำไปยังพื้นที่ทำการเกษตรหมู่ที่ ๑-๑๘ -อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านเกินกว่ามาตรฐานมี ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก - พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบต่อเนื่องทุกปี -ราษฎรส่วนมากไม่สนใจในเรื่องสุขลักษณะในบ้านและการดูแลสภาพแวดล้อมบริเวณที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูงของประชากรในพื้นที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง - ประชาชนยังขาดความร่วมมือในกระบวนการคิดวางแผน การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพและการป้องกันควบคุมโรคในท้องถิ่น -ปัญหาราษฎรไม่ไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง -ราษฎรขาดความรู้ความเข้าใจในระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ -ปัญหาประชาชนที่จบการศึกษาภาคบังคับขาดโอกาสการ เรียนต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาเนื่องจากความยากจน -ปัญหาราษฎรขาดโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดี ขึ้นกว่าเดิม -ราษฎรบุกรุกตัดไม้มาใช้ประโยชน์ส่วนตัว -ราษฎรได้บุกรุกถางป่าเป็นที่ทำกิน |
|||
๗. จุดเด่นของพื้นที่
๑. พื้นที่ของตำบลลำดวน มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ดินเป็นดินเหนียวปนทราย ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกและประชากรส่วนใหญ่ของตำบลลำดวน มีอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าหากมีการส่งเสริมการทำการเกษตร ทั้งในช่วงฤดูกาลและหลังฤดูการเก็บเกี่ยวอย่างจริงจัง ก็จะทำให้ประชากรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น หรือสามารถส่งออกจำหน่วยได้เพิ่มมากขึ้น
๒. การส่งเสริมอาชีพเกษตรกรใช้พื้นที่การเกษตรหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวให้เกิดประโยชน์โดยการส่งเสริมให้ปลูกพืชผักสวนครัว ผลไม้ หรือพืชไร่ ซึ่งผลผลิตต้องเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคและตลาดเพื่อเป็นรายได้เสริมให้แก่เกษตรกร
๓. พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลลำดวนมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร หากมีการพัฒนาโดยการจัดระบบกลุ่ม ปรับปรุงรูปแบบการผลิต เพื่อให้ได้ปริมาณเพิ่มมากขึ้น มีคุณภาพดี และมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องก็จะเป็นโอกาสที่จะส่งเสริมรายได้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
๘. ศักยภาพในตำบล
๘.๑ ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน
(๑) จำนวนบุคลากร จำนวน 60 คน
- ตำแหน่งในสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 32 คน
- ตำแหน่งในส่วนการคลัง 10 คน
- ตำแหน่งในส่วนโยธา 10 คน
- ตำแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและสวัสดิการสังคม 8 คน
(๒) ระดับการศึกษาของบุคลากร
- ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น - คน
- มัธยมศึกษา / อาชีวศึกษา 17 คน
- อนุปริญญาตรี - คน
- ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 6 คน
- ปริญญาตรี ๒5 คน
- ปริญญาโท 12 คน
อัตรากำลังขององค์การบริหารส่วนตำบล (ปัจจุบัน )
ส่วน |
อำนวยการ | วิชาการ | ครู |
จำนวนลูกจ้าง | รวม |
|||||||
ต้น |
กลาง |
สูง |
ชำนาญการ | ปฏิบัติการ | ชำนาญงาน | ปฏิบัติ งาน | ลูกจ้างประจำ | พนักงานจ้างตามภารกิจ | พนักงานจ้างทั่วไป | |||
สำนักปลัด | 2 | 1 | 2 | 2 | 1 | 1 | 2 | 6 | 14 | 32 | ||
คลัง | 1 | 2 | 1 | 1 | 1 | 4 | 10 | |||||
โยธา | 1 | 1 | 5 | 3 | 10 | |||||||
ศึกษา | 1 | 4 | 3 | 8 | ||||||||
รวม | 5 | 1 | 0 | 4 | 4 | 3 | 2 | 4 | 2 | 18 | 17 | 60 |
(๓) รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕8
ทั้งที่เป็นรายได้จากการที่องค์การบริหารส่วนตำบลลำดวนจัดเก็บเอง รายได้จากรัฐบาลจัดเก็บให้ เงินอุดหนุนและเงินสะสม ย้อนหลัง ๓ ปี
สถิติรายรับจริงขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน ปี ๒๕๕6 – ๒๕๕8
หมวด | ปี 2558 | ปี ๒๕๕7 | ปี ๒๕๕6 |
๑.หมวดภาษีอากร |
125,119.40 | 125,763.55 | 131,888.93 |
๒.หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต |
176,.796.73 | 190,696.02 | 149,382.15 |
๓.หมวดรายได้จากทรัพย์สิน | 505,305.14 | 355,041.97 | 318,166.85 |
๔.หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ | 3,600.00 | 19,800.00 | 23,720 |
๕.หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด | 910,750.80 | 1,255,351.63 | 305,349.08 |
๖.หมวดรายได้จากทุน |
- | - | - |
๗.หมวดเงินอุดหนุน |
19,551,654 | 20,800,984.00 | 19,098,056.30 |
๘.ภาษีจัดสรร |
20,741,741.24 | 19,092,614.15 | 22,222,555 |
๙.เงินสะสม | 5,520,429.76 | 9,935,076.15 | 4,045.80 |
รวมรับทั้งสิ้น | 47,534,997.07 | 51,775,327.47 | 42,253,164.11 |
(๔) รายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน
สถิติรายจ่ายจริงขององค์การบริหารส่วนตำบลลำดวน ปี ๒๕๕6 – ๒๕๕8
หมวด | ปี 2558 | ปี ๒๕๕7 | ปี ๒๕๕6 |
๑.รายจ่ายงบกลาง |
881,970.00 | 733,004.50 | 1,203,485 |
๒.หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ |
8,966,168.00 | 8,925,006.00 | 3,756,755 |
๓.หมวดค่าจ้างชั่วคราว |
3,076,016.00 | 2,728,020.00 | 2,088,617 |
๔.หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ |
7,523,640.80 | 8,711,947.65 | 12,796,107.24 |
๕.หมวดค่าสาธารณูปโภค |
672,659.94 | 1,052,332.38 | 1,236,339.82 |
๖.หมวดเงินอุดหนุน |
5,600,531,71 | 7,273,798.56 | 6,340,610.77 |
๗.หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง |
9,043,489.84 | 10,261,141.00 | 7,318,827.50 |
๘.งบเฉพาะการกิจการประปา |
- | - | - |
๙.รายจ่ายจากเงินสะสม |
6,278,000 | 1,013,500.00 | 1,577,340 |
๑๐.หมวดรายจ่ายอื่น |
15,000 | 1,488,926.00 | 12,000 |
รวมจ่ายทั้งสิ้น | 42,057,476.29 | 42,187,686.09 | 36,330,082.33 |